วันที่่ 26 กันยายน 2555
Language Experiences Management for Early Childhood
แฟ้มสะสมงานในรายวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา2555
วันเสาร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2555
วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2555
วิเคราะห์ทีวีครู
เรื่องปฐมวัยให้เป็นสุข : สนุกสนานกับการออกเสียง
การออกเสียงและสะกดคำอย่างเป็นระบบ
1. สอนพร้อมกันทั้งชั้น ฝึกให้ออกเสียงประกอบท่าทางตามครู ออกเสียงประกอบพยัญชนะที่เรียงเป็นคำ
2. ทบทวนเสียงที่ได้เรียนไปแล้ว เพื่อมาวิเคราะห์ว่าเด็กได้ออกเสียงครบทุกเสียงหรือไม่
3. คัดแยกนักเรียนที่ออกเสียงได้ไม่ครบ ไปสอนตัวต่อตัว หรือสอนเป็นกลุ่มเล็กๆ
ขั้นตอน คือ ฝึกถามคำถามโดยใช้คำที่ครูกำหนดให้ โดยให้เด็กออกเสียงและชี้ไปที่ตัวอักษรให้เล่นเกมลุกขึ้นแล้วเปลี่ยนที่ โดยเมื่อครูออกเสียงใด ให้เด็กคนนั้นลุกขึ้นและเปลี่ยนที่ และให้เด็กตั้งคำถามจากคำที่ครูกำหนดให้ ฝึกออกเสียงคำ ครูแสดงการเขียนประโยคที่ถูกต้องเพื่อให้เด็กคุ้นเคยกับรูปแบบการเขียนประโยค
4. ให้เด็กเขียนตามคำที่ครูบอก และการเล่นบิงโกจากคำต่างๆ
การนำไปประยุกต์ใช้
1. ครูควรหาสื่อสำหรับเด็กที่เหมาะสมกับวัย มาเป็นสื่อในการออกเสียงและสะกดคำ
2. สามารถทำกิจกรรมประยุกต์ใช้ในการสอน
ลิงค์ทีวีครู
การเข้าชั้นเรียนครั้งที่่15
วันที่ 19 กันยายน 2555
- พูดถึงเรื่องสอบในตาราง
- ตรวจ Blogger แล้วบอกรายละเอียดเกี่ยวกับบล็อก
- วิเคราะห์วีดีโอเกี่ยวกับภาษาในทีวีครู
- พูดถึงเรื่องสอบในตาราง
- ตรวจ Blogger แล้วบอกรายละเอียดเกี่ยวกับบล็อก
- วิเคราะห์วีดีโอเกี่ยวกับภาษาในทีวีครู
การเข้าชั้นเรียนครั้งที่่14
วันที่ 12 กันยายน 2555
- อาจารย์ถามความสามารถของแต่ละบุคคล
- พูดถึงเรื่องอาเซียน
อาเซียน คือ องค์ความรู้ใหม่ที่ต้องให้เกิดการเรียนรู้
- การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การสัมมนาการศึกษาปฐมวัย
วันที่ 9 กันยายน 2555
เรื่อง นิทานเสริมสร้างจินตนาการการเรียนรู้
ณ ห้องประชุม2 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู
สิ่งที่ได้รับจากการอมรมนิทาน
ประโยชน์ของนิทาน
นิทานมีคุณค่าและประโยชน์คือ เป็นวิธีการให้ความรู้ที่จะทำให้เด็กสนใจเรียนรู้สามารถจดจำและกล้าแสดงออก ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็กจากตัวแบบในนิทานที่เด็กประทับใจ
เทคนิคการเล่านิทาน
1. ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่จะเล่นก่อนเพื่อจับใจความสำคัญ
2. ควรเลือกที่เป็นคำง่ายๆ ที่เด็กฟังเข้าใจ
3. การเล่าเรื่องควรใช้เสียงให้ชัดเจน มีหนักเบา
เรื่อง นิทานเสริมสร้างจินตนาการการเรียนรู้
ณ ห้องประชุม2 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู
ให้ต่อกันเป็นรูป สิงโต |
แสดงเป็น หนูกลาง |
แสดงเป็น หนูกลาง |
สิ่งที่ได้รับจากการอมรมนิทาน
ประโยชน์ของนิทาน
นิทานมีคุณค่าและประโยชน์คือ เป็นวิธีการให้ความรู้ที่จะทำให้เด็กสนใจเรียนรู้สามารถจดจำและกล้าแสดงออก ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของเด็กจากตัวแบบในนิทานที่เด็กประทับใจ
เทคนิคการเล่านิทาน
1. ควรทำความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่จะเล่นก่อนเพื่อจับใจความสำคัญ
2. ควรเลือกที่เป็นคำง่ายๆ ที่เด็กฟังเข้าใจ
3. การเล่าเรื่องควรใช้เสียงให้ชัดเจน มีหนักเบา
การเข้าชั้นเรียนครั้งที่13
วันที่ 5 กันยายน 2555
- อาจารย์ตรวจงานปฏิทิน
- แจกสี,แบบตัวอักษร
- ทบทวนกิจกรรมที่เรียนมาแล้ว
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ในแต่ละวัน
1. วันจันทร์ เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์
2. วันอังคาร ของรักของหวง
3. วันพุธ โฆษณา
4. วันพฤหัสบดี ประชาสัมพันธ์
5. วันศุกร์ เล่าข่าวเช้านี้
- การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 ต้องลงมือกระทำกับวัตถุ
- เด็กเกิดการเรียนรู้ เพราะ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- เรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติ คือ อิสระ
- ประสบการณ์การใช้ภาษาเกิดขึ้นตลอดเวลา
- ครูต้องเชื่อมั่นว่า
1. เด็กเรียนรู้ได้
2. เด็กเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้
3. เด็ก เก่ง ฉลาดได้
ปล.วันนี้อาจารย์ให้ไปฟังเทศน์ ที่หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- อาจารย์ตรวจงานปฏิทิน
- แจกสี,แบบตัวอักษร
- ทบทวนกิจกรรมที่เรียนมาแล้ว
กิจกรรมเสริมประสบการณ์ในแต่ละวัน
1. วันจันทร์ เรื่องเล่าเสาร์-อาทิตย์
2. วันอังคาร ของรักของหวง
3. วันพุธ โฆษณา
4. วันพฤหัสบดี ประชาสัมพันธ์
5. วันศุกร์ เล่าข่าวเช้านี้
- การเรียนรู้ คือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- เด็กเรียนรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง5 ต้องลงมือกระทำกับวัตถุ
- เด็กเกิดการเรียนรู้ เพราะ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- เรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติ คือ อิสระ
- ประสบการณ์การใช้ภาษาเกิดขึ้นตลอดเวลา
- ครูต้องเชื่อมั่นว่า
1. เด็กเรียนรู้ได้
2. เด็กเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้
3. เด็ก เก่ง ฉลาดได้
ปล.วันนี้อาจารย์ให้ไปฟังเทศน์ ที่หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555
อบรมการจัดบอร์ด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)